การใช้ si
Si (Condition)
ประโยคเงื่อนไข
และแล้วก็มาถึงเรื่องประโยคเงื่อนไข ก่อนเริ่มเข้าเนื้อหา ให้เปิดไปทบทวน…การกระจายกริยาใน
présent
impératif
futur simple
imparfait
plus-que-parfait
conditionnel présent
conditionnel passéถ้าหากยังกระจายกริยาในรูปแบบเหล่านี้ไม่คล่อง การเรียนประโยคเงื่อนไขจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ นอกจากความสับสนและความท้อถอย บอกแล้วว่า เสายังไม่แข็งแรง จะก่อกำแพงได้อย่างไร สำหรับคนที่มั่นใจว่าน่าจะผ่านอุปสรรคนี้ไปได้ ก็มาเริ่มเรียนกัน ประโยคเงื่อนไขแบ่งออกเป็น 3 แบบ
แบบที่ 1 แบ่งย่อยออกเป็น 3 แบบ
1. Si+présent, présent (เป็นจริงเสมอในปัจจุบัน เป็นนิสัย)
S’il fait beauเวลาอากาศดี, on sort. เรามักออกไปข้างนอก
2. Si+présent, futur simple (มีโอกาสเป็นจริงในอนาคต)
S’il pleutถ้าฝนตก, on ne pourra pas rentrer. เราคงจะกลับบ้านไม่ได้
3. Si + présent, impératif (ประโยคคำสั่ง)
Rentre chez toi กลับบ้านไปเสีย si tu peux.ถ้าทำได้
ระวัง
ตำแหน่งของ Si สามารถสลับลงไปอยู่กลางประโยคได้อย่างที่เห็นในประโยคที่ 3 เครื่องหมายลูกน้ำก็จะหายไปเพราะมี Si ทำหน้าที่เชื่อมอยู่กลางประโยค การทำประโยคเงื่อนไขจึงต้องระวังตำแหน่งของ Si เพราะรูปแบบกริยาที่ตามหลังจะสลับกันด้วย เช่น
S’il pleut, on ne pourra pas rentrer. รูปแบบคือ Si présent, futur simple
On ne pourra pas rentrer s’il pleut. รูปแบบคือ Futur simple si présentแบบที่ 2 พูดในสิ่งที่ไม่เป็นจริงหรือเป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน
Si + imparfait, conditionnel présentตัวอย่าง
Si j’étais toiถ้าฉันเป็นเธอ, je choisirais l’argent. ฉันเลือกเงิน แต่ฉันเป็นเธอไม่ได้ ถ้าเป็นได้ฉันก็คงเลือกเงินจริง ๆ
Je ferais le tour du monde ฉันจะเดินทางรอบโลกsi j’étais riche.ถ้ารวยเผอิญตอนนี้ไม่รวย ก็เลยได้แต่นั่งฝันอยู่ตรงนี้...เฮ้อ
แบบที่ 3 สมมติในสิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้วในอดีต
Si + plus-que-parfait, Conditionnel passéตัวอย่าง
S’il n’avait pas trop bu hierถ้าเมื่อวานเขาไม่เมา, il n’aurait pas eu l’accident.เขาก็ไม่เกิดอุบัติเหตุหรอก ความเป็นจริงคือมันเมาแอ๋เมื่อวานนี้ แล้วก็ขับรถไปเสยตอม่อสะพานเข้า อาการเป็นตายเท่ากัน เพื่อน ๆ ก็ได้แต่นั่งบ่นว่าไม่น่าเลย...สงสัยได้กินข้าวต้มฟรีอีกแล้ว
จำให้แม่นว่า
présent ต้อง Futur (S)
imparfait คู่ condi présent
plus-que-parfait ต้อง
คู่กับ conditionnel passé
ประโยคเงื่อนไข
และแล้วก็มาถึงเรื่องประโยคเงื่อนไข ก่อนเริ่มเข้าเนื้อหา ให้เปิดไปทบทวน…การกระจายกริยาใน
présent
impératif
futur simple
imparfait
plus-que-parfait
conditionnel présent
conditionnel passéถ้าหากยังกระจายกริยาในรูปแบบเหล่านี้ไม่คล่อง การเรียนประโยคเงื่อนไขจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใด ๆ นอกจากความสับสนและความท้อถอย บอกแล้วว่า เสายังไม่แข็งแรง จะก่อกำแพงได้อย่างไร สำหรับคนที่มั่นใจว่าน่าจะผ่านอุปสรรคนี้ไปได้ ก็มาเริ่มเรียนกัน ประโยคเงื่อนไขแบ่งออกเป็น 3 แบบ
แบบที่ 1 แบ่งย่อยออกเป็น 3 แบบ
1. Si+présent, présent (เป็นจริงเสมอในปัจจุบัน เป็นนิสัย)
S’il fait beauเวลาอากาศดี, on sort. เรามักออกไปข้างนอก
2. Si+présent, futur simple (มีโอกาสเป็นจริงในอนาคต)
S’il pleutถ้าฝนตก, on ne pourra pas rentrer. เราคงจะกลับบ้านไม่ได้
3. Si + présent, impératif (ประโยคคำสั่ง)
Rentre chez toi กลับบ้านไปเสีย si tu peux.ถ้าทำได้
ระวัง
ตำแหน่งของ Si สามารถสลับลงไปอยู่กลางประโยคได้อย่างที่เห็นในประโยคที่ 3 เครื่องหมายลูกน้ำก็จะหายไปเพราะมี Si ทำหน้าที่เชื่อมอยู่กลางประโยค การทำประโยคเงื่อนไขจึงต้องระวังตำแหน่งของ Si เพราะรูปแบบกริยาที่ตามหลังจะสลับกันด้วย เช่น
S’il pleut, on ne pourra pas rentrer. รูปแบบคือ Si présent, futur simple
On ne pourra pas rentrer s’il pleut. รูปแบบคือ Futur simple si présentแบบที่ 2 พูดในสิ่งที่ไม่เป็นจริงหรือเป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน
Si + imparfait, conditionnel présentตัวอย่าง
Si j’étais toiถ้าฉันเป็นเธอ, je choisirais l’argent. ฉันเลือกเงิน แต่ฉันเป็นเธอไม่ได้ ถ้าเป็นได้ฉันก็คงเลือกเงินจริง ๆ
Je ferais le tour du monde ฉันจะเดินทางรอบโลกsi j’étais riche.ถ้ารวยเผอิญตอนนี้ไม่รวย ก็เลยได้แต่นั่งฝันอยู่ตรงนี้...เฮ้อ
แบบที่ 3 สมมติในสิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้วในอดีต
Si + plus-que-parfait, Conditionnel passéตัวอย่าง
S’il n’avait pas trop bu hierถ้าเมื่อวานเขาไม่เมา, il n’aurait pas eu l’accident.เขาก็ไม่เกิดอุบัติเหตุหรอก ความเป็นจริงคือมันเมาแอ๋เมื่อวานนี้ แล้วก็ขับรถไปเสยตอม่อสะพานเข้า อาการเป็นตายเท่ากัน เพื่อน ๆ ก็ได้แต่นั่งบ่นว่าไม่น่าเลย...สงสัยได้กินข้าวต้มฟรีอีกแล้ว
จำให้แม่นว่า
présent ต้อง Futur (S)
imparfait คู่ condi présent
plus-que-parfait ต้อง
คู่กับ conditionnel passé
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น